ชื่อกลุ่มกล้ามเนื้อภาษาลาติน (ภาษาหมอ) เป็นภาษาไทย
A
B
C
D
E
F
G
H
J
K
L
M
N
O
P
Gluteus Maximus
Quadriceps
Biceps femaris, Semidentinosus
Abductor Gluteus Maximus
Adductor Sartorius
Gastrocnemius
Latissimus Dorsi
Pectoralis
Deltoidus anterior/lateralis
Triceps brachii
Biceps brachii
Obliques abdominis
Rectus abdominis
Trapezius
Stemocleidomastoideus
กล้ามเนื้อสะโพก กล้ามก้น
กล้าเนื้อมต้นขาด้านหน้า
กล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง
กล้ามเนื้อต้นขาส่วนนอก
กล้ามเนื้อต้นขาส่วนใน
กล้ามเนื้อน่อง
กล้ามเนื้อหลัง
กล้ามเนื้ออก
กล้ามเนื้อหัวไหล่
กล้ามเนื้อต้นแขนด้านหลัง
กล้ามเนื้อต้นแขนด้านหน้า
กล้ามเนื้อท้องด้านข้าง
กล้ามเนื้อท้องด้านหน้า
กล้ามเนื้อหนอกคอด้านข้าง
กล้ามเนื้อคอ
ชื่อกล้ามเนื้อภาษาลาติน (ภาษาหมอ) เป็นภาษาไทยและการทำงานของกล้ามเนื้อ
เลข
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
กำหนดชื่อกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อหนอกคอส่วนบน
กล้ามเนื้อหนอกคอส่วนกลาง
กล้ามเนื้อหนอกคอส่วนล่าง
กล้ามเนื้อหัวไหล่ด้านหลัง
กล้ามเนื้อหลัง
กล้ามเนื้อกระดูกสันหลัง
กล้ามเนื้อทรงกลมขนาดใหญ่
กล้ามเนื้อทรงกลมขนาดเล็ก
กล้ามเนื้อแขนสามหัว
กล้ามเนื้อสะโพก กล้ามก้น
กล้ามเนื้อยืดมือและนิ้วมือ
กล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง
กล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง
กล้ามเนื้อน่องคู่
กล้ามเนื้อช่วยน่องคู่
กล้ามเนื้อเคลื่อนไหวหัว
กล้ามเนื้อไหล่ด้านหน้า
กล้ามเนื้อไหล่ด้านข้าง
กล้ามเนื้อหนอกคอ
กล้ามเนื้ออก
กล้ามเนื้อต้นแขนด้านหน้า
กล้ามเนื้อปลายแขนด้านใน
กล้ามเนื้อด้านบนท้องด้านข้าง
กล้ามเนื้อท้องด้านข้าง
กล้ามเนื้อท้องด้านหน้า
กล้ามเนื้อต้นขาส่วนใน
กล้ามเนื้อซาร์โตริอุส
กล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้า
กล้ามเนื้อขาด้านล่างด้านหน้า
กล้ามเนื้อโซลิอุส
กล้ามเนื้อนิ้วเท้า
ภาษาลาติน (ภาษาหมอ)
Trapezius superius
Trapezius media pars
Trapezius inferiorem
Deltoidus posterior
Latissimus Dorsi
Erector spinae
Teres maijor
Teres minor
Triceps brachii
Gluteus Maximus
Extensores
Biceps femaris
Semiteninosus
Gastrocnemius
Soleus
Stemocleidomastoideus
Deltoidus lateralis
Deltoidus anterior
Trapezius
Pectoralis
Biceps brachii
Flexores
Serratus
Obliques abdominis
Rectus abdominis
Adductor
Sartorius
Quadriceps
Tibialis anterior
Soleus
Extensores
การทำงานของกล้ามเนื้อ
ยกไหล่ และถือคงที่
ทำให้ไหล่มาใกล้เคียงกระดูกสันหลัง
ยกไหล่ลง
แขนเคลื่อนไหวในแนวนอนไปด้านหลัง
ดึงแขนด้วยการหมุนภายในเล็กน้อยเข้ามาด้านล่าง
ช่วยให้ตั้งตรงกระดูกสันหลัง
นำแขนภายใต้การหมุนเข้าด้านในเล็กน้อยเข้ามาสู่ร่างกาย
หมุนแขนตามแกนของมันด้านนอก
ยืดแขนในข้อศอก
ยืดขา และยืดขาไปด้านข้าง
ยืดมือและนิ้วมือ
งอขาที่หัวเข่า
งอขาที่หัวเข่า
ยืดเท้าในข้อเท้า
สนับสนุนกล้ามเนื้อน่องคู่
เคลื่อนไหวหัว
ยกแขนไปข้างหน้า
ยกแขนไปด้านข้าง
ยกไหล่คงที่
นำแขนและไหล่ไปข้างหน้าด้านใน
งอแขนในข้อศอก
งอมือและนิ้ว
ดึงไหล่ด้านหน้า
งอด้านข้างและหมุนตัว
ดึงหน้าอกไปที่สะโพก
ดึงขา
หมุนต้นขาออกไปและขาด้านล่างหมุนไปด้านใน
ยืดขาในข้อเข่า
ยกเท้าในข้อเท้า
ยืดเท้าในข้อเท้า
ยืดนิ้วเท้า
กล้ามเนื้อลาย เป็นกล้ามเนื้อชนิดเดียวที่ยึดเกาะกับกระดูก ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาวเหมือนเส้นใย เรียกว่า
เส้นใยกล้ามเนื้อ ( muscle fiber ) อยู่รวมกันเป็นมัด เซลล์แต่ละเซลล์ในเส้นใยกล้ามเนื้อจะมีหลายนิวเคลียส และในเส้น
ใยกล้ามเนื้อแต่ละเส้นจะประกอบด้วยมัดของเส้นใยฝอย หรือเส้นใยกล้ามเนื้อเล็ก ( myofibrils ) ที่มีลักษณะเป็นท่อนยาว
เรียงตัวตามแนวยาว ภายในเส้นใยฝอยจะประกอบด้วยเส้นใยเล็กๆ เรียกว่า ไมโอฟิลาเมนท์ ( myofilament ) ไมโอ-
ฟิลาเมนต์ประกอบด้วยโปรตีน 2 ชนิด คือ ไมโอซิน ( myosin ) และแอกทิน ( actin ) ไมโอซินมีลักษณะเป็นเส้นใยหนา
ส่วนแอกทินเป็นเส้นใยที่บางกว่า การเรียงตัวของไมโอซินและแอกทินอยู่ในแนวขนานกัน
ทำให้เห็นกล้ามเนื้อเป็นลายขาวดำสลับกัน
การหดตัวของกล้ามเนื้อลายนั้น ฮักซเลย์ และ แฮนสัน ( H.E Huxley and Jean Hanson ) ได้เสนอสมมุติฐานว่า
เกิดจากการเลื่อนผ่านของแอกทินเข้าหากันโดยอาศัยพลังงานจาก ATP ในกล้ามเนื้อ และแคลเซียมไอออนซึ่งเป็นผลทำให้
กล้ามเนื้อหดตัว
การเคลื่อนไหวของสัตว์ที่อาศัยการหดตัวของกล้ามเนื้อที่ยึดติดโครงกระดูกนี้ อาศัยการทำงานร่วมกันของกล้ามเนื้อเป็น
คู่ๆ ในสภาวะตรงกันข้าม ( antagonism ) กล่าวคือ เมื่อกล้ามเนื้อด้านหนึ่งหดตัว กล้ามเนื้อด้านตรงข้ามก็จะ
คลายตัว ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆ ขณะที่เกิดการเคลื่อนไหว กล้ามเนื้อด้านใดเมื่อหดตัวแล้วทำให้อวัยวะ
นั้นงอเข้า เรียกว่า กล้ามเนื้อ เฟลกเซอร์ ( flexor ) แต่กล้ามเนื้อที่หดตัวแล้วทำให้อวัยวะนั้นเหยียดออกเรียกว่า
กล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์ ( extensor )
การทำงานของกล้ามเนื้อที่เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ การทำงานของกล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อแขนประกอบด้วยกล้ามเนื้อ
ไบเซพ ( biceps ) และกล้ามเนื้อไตรเซพ ( triceps ) ปลายข้างหนึ่งของกล้ามเนื้อทั้งสองยึดติดกับ
กระดูกแขนท่อนบน ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งยึดติดอยู่กับกระดูกแขนท่อนล่าง เมื่อกล้ามเนื้อไบเซพหดตัว ทำให้แขนงอตรง
บริเวณข้อศอก ขณะที่แขนงอกล้ามเนื้อไตรเซพจะคลายตัว แต่ถ้ากล้ามเนื้อไบเซพคลายตัวจะทำให้แขนเหยียดตรงได้ ซึ่ง
ขณะนั้นกล้ามเนื้อไตรเซพจะหดตัว ดังนั้นกล้ามเนื้อไบเซพจึงเป็นกล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ ส่วนกล้ามเนื้อไตรเซพจะเป็น
กล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์
กล้ามเนื้อ ( muscle ) เป็นตัวที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวโดยทำงานร่วมกับระบบโครงกระดูก
กล้ามเนื้อแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. กล้ามเนื้อลาย ( skeletal muscle ) เป็นกล้ามเนื้อชนิดเดียวที่ยึดเกาะกับกระดูก ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะเป็น
ทรงกระบอกยาว เรียกว่า เส้นใยกล้ามเนื้อ ( muscle fiber ) ถ้าดูด้วยกล้องจุลทรรศน์จะมองเห็นเป็นแถบลาย สีเข้ม สีอ่อน
สลับกันเห็นเป็นลายตามขวาง แต่ละเซลล์มีหลายนิวเคลียส การทำงานอยู่ภายใต้การควบคุมของจิตใจ
( voluntary muscle ) เช่น กล้ามเนื้อที่ แขน ขา หน้า ลำตัว เป็นต้น
2. กล้ามเนื้อเรียบ ( smooth muscle ) เป็นกล้ามเนื้อที่ไม่มีลายตามขวาง ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะแบนยาว
แหลมหัวแหลมท้าย ภายในเซลล์มีนิวเคลียสอันเดียวตรงกลาง ทำงานอยู่นอกอำนาจจิตใจ ( involuntary muscle ) เช่น
กล้ามเนื้อของอวัยวะภายในต่างๆ
3. กล้ามเนื้อหัวใจ ( cardiac muscle ) เป็นกล้ามเนื้อของหัวใจโดยเฉพาะ รูปร่างเซลล์จะมีลายตามขวางและมี
นิวเคลียสหลายอันเหมือนกล้ามเนื้อลาย แต่แยกเป็นแขนงและเชื่อมโยงติดต่อกันกับเซลล์ข้างเคียง การทำงานอยู่นอกอำนาจ
จิตใจเช่นเดียวกับกล้ามเนื้อเรียบ